คุณสมบัติของแม่พิมพ์ฟิล์มม่วง
- พิมพ์งานที่ต้องการตัวนูน อย่างนามบัตร ด้วยสีพิมพ์เหล็กหรือสีแห้งช้า โดยใช้ แม่พิมพ์ม่วงอย่างหนา
- พิมพ์งานที่ต้องการให้เส้นคมชัดด้วยสีพิมพ์น้ำมันทั่วไป โดยใช้แม่พิมพ์ฟิล์มม่วงอย่างบาง
- พิมพ์ได้ทั้งสี หมึกพิมพ์ ทั้งเชื้อน้ำมันและน้ำเทคนิคในเรื่องแม่พิมพ์การเคลือบน้ำยาเพื่อให้แม่พิมพ์ใช้พิมพ์ได้นานน้ำยาไวแสง ใช้เคลือบกับแม่พิมพ์แบบกาวอัดและแบบผสมที่พิมพ์ได้ทั้งสีหมึกเชื้อน้ำและน้ำมัน ใช้ทาด้านนอกของเฟรมสกรีนที่เป็นแม่พิมพ์เรียบร้อยแล้ว ปล่อยทิ้งให้แห้ง แล้วนำไปพิมพ์ได้เลย ช่วยในการอัดติดแน่นบนผ้าชิลด์ ทนต่อการเสียดสีเวลาพิมพ์น้ำยาฮาร์ด เดนเนอร์ วิธีการใช้และคุณสมบัติเช่นเดียวกับน้ำยาไวแสงแต่ให้ผลดีกว่ากาวเคลือบทน ใช้เหล็กกันแม่พิมพ์แบบกาวอัด ที่พิมพ์ได้เฉพาะสี-หมึกเชื้อน้ำเท่านั้น ใช้กาวเคลือบทน ทาเคลือบเช่นเดียวกับน้ำยาไวแสง เพียงแต่ตรงบริเวณที่เป็นลายที่ให้หมึกผ่านบนเฟรมสกรีน จะต้องใช้น้ำมันล้าง (NO 1) เช็ดออก เพราะกาวเคลือบทนจะไม่อุดรูในเฟรมสกรีนส่วนที่เป็นลายตัน
..........................อ่านไม่ออก.......................................แล้วนำไปพิมพ์ได้เลยการล้างแม่พิมพ์เพื่อถ่ายแบบใหม่วัสดุที่ใช้ล้างได้แก่
1. ผงคลอรีน เป็นผงล้างที่ล้างได้ทั้งแม่พิมพ์แบบกาวอัดกับแบบผสม วิธีการใช้เหมือนกับการใช้ผงซักฟอก แต่ควรใส่ถุงมือเวลาใช้ เพราะกันการกัดมือของผงล้าง
2. น้ำยาล้าง มีหลายแบบ ใช้ล้างแม่พิมพ์แบบฟิล์มและกาวอัด ให้ความสะอาดและปลอดภัย
1. การพิมพ์ชิลด์สกรีน แบ่งได้ 2 เรื่องคือ
1.1 กรรมวิธีการพิมพ์
1.2 กรรมวิธีการใช้สี-หมึกพิมพ์
วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น